ประเภทการลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบต่าง ๆ บนเอกสาร

ประเภทการลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบต่าง ๆ บนเอกสาร

การลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์บนเอกสารสามารถทำได้หลายแบบ ไม่ว่าจะเป็น การลงลายมือชื่อแบบเต็มตามปกติ การลงลายมือชื่อแบบย่อแค่ตัวอักษรเริ่มต้น การประทับตราขององค์กรหรือของตนเอง และการเช็กช่องรับทราบเอกสาร โดยวิธีทั้งหมดนั้นมีวิธีการอย่างไรบ้าง...
ประเภทของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบต่าง ๆ ที่เอาไปใช้งาน

ประเภทของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบต่าง ๆ ที่เอาไปใช้งาน

ความจริงแล้วลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์แบ่งออกเป็น ได้หลายประเภทเลยเดียว ขึ้นอยู่กับการใช้งานจริงว่าเหมาะสมกับงานประเภทไหน โดยสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ ได้ดังต่อไปนี้   1. ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบทั่วไป ...
สำนักงาน ก.ล.ต. เปิดรับเอกสารออนไลน์ ลดการใช้กระดาษ

สำนักงาน ก.ล.ต. เปิดรับเอกสารออนไลน์ ลดการใช้กระดาษ

เมื่อต้นเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2564 บนเว็บไซต์ สำนักงาน คณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้ประกาศ การเปิดรับเอกสารออนไลน์ เพิ่มความสะดวก รวดเร็ว และลดการใช้กระดาษ ผ่านทางระบบงานออนไลน์ของสำนักงาน หรือส่งทางอีเมล (กรณีไม่มีระบบงาน) ...
ทำไมลายเซ็นดิจิทัลจึงมีความปลอดภัย

ทำไมลายเซ็นดิจิทัลจึงมีความปลอดภัย

ลายเซ็นดิจิทัลเป็นเทคนิคทางคณิตศาสตร์เทคนิคหนึ่งที่ใช้ยืนยันตัวตนและความโปร่งใสของข้อความ ซอฟต์แวร์ หรือเอกสาร หลายคนอาจจะสงสัยว่า ลายเซ็นดิจิทัลนี้มีขั้นตอนการสร้างอย่างไร ทำไมการใช้ลงลายมือชื่อนี้บนเอกสารจึงเกิดความปลอดภัย...
ลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์อย่างไรให้มีผลทางกฎหมาย

ลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์อย่างไรให้มีผลทางกฎหมาย

เกลิ่นนำ การลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้มีผลทางกฎหมายนั้น จำเป็นต้องมีองค์ประกอบที่สำคัญสามอย่างคือ สามารถพิสูจน์และยืนยันตัวตนเจ้าของลายมือชื่อได้ แสดงเจตนาของการลงลายมือชื่อ และมีความครบถ้วนไม่ถูกเปลี่ยนแปลง...
รู้จัก พ.ร.บ. ว่าด้วยการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ มาตรา 26

รู้จัก พ.ร.บ. ว่าด้วยการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ มาตรา 26

มาทำความรู้จักลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรา 26 กันก่อน สำหรับมาตรา 26 แห่ง พ.ร.บ. ว่าด้วยการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ที่เน้นให้ความสำคัญกับลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกที่มีความน่าเชื่อถือ โดยในที่นี้ลายเซ็นดิจิทัล (Digital Signature) ได้ตรงกับนิยามของมาตรา 26 ...